เครื่องปรับอากาศ
ตถุประสงค์
1. เพื่อควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสม 24 - 26 c
2. ควบคุมปริมาณความชื้นสัมพัทธ์ ให้อยู่ในห้องระหว่าง 50 - 55%
3. ฟอกอากาศหรือกรองฝุ่นละอองในอากาศ ที่อยู่โนห้องปรับอากาศ
4. ถ่ายเทอากาศจากภายนอกห้องเข้าสู่ภายในห้องปรับอากาศ
หน่วยวัดปริมาณความร้อนมีอยู่ 2 หน่วย
1. บีทียู
2.กิโลแคลอรี่
1. บีทียู คือ ปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำบริสุทธิ์หนัก 1 ปอนด์ มีอุณหภูมิเปลื่องแปลง 1 อาศาฟาเรนไซต์ ( 1 F )
1. กิโลแคลอรี่ คือ ปริมาณความร้อนที่ให้น้ำบริสุทธิ์หนัก 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิเปลื่ยนแปลง 1 อาศาเซลเซียส ( 1 C )
ความร้อนเป็นพลังงานอย่างหนึ่งสามารถจำแนกได้ 3 ชนิด
1. ความร้อนรู้สึก คือความร้อนที่ทำให้สสารมีอุณหภูมิเพิมขึ้น
2. ความร้อนจำเพราะ คือ ความร้อนที่ทำให้สสารหนัก 1 หน่วย ( 1
กก. 1 ปอนด์ ) มีอุณหภูมิเปลื่อนแปลง 1 องศาเซลเซียส
ปริมาณความร้อนที่ใช้ไปจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของสาร
เหล็ก 1 กก. ให้อุณหภูมิ 1 ํC ใช้ความร้อน 1200 BTU
น้ำ 1 กก. ให้อุณหภูมิ 1 ํC ใช้ความร้อน 1000 BTU
ไม้ 1 กก. ให้อุณหภูมิ 1 ํC ใช้ความร้อน 2000 BTU
3. ความร้อนแฝง คือ ปริมาณความร้อนที่ใช่ในการเปลื่อนสถานะของสสาร
3.1 ของแข็ง
3.2 ของเหลว
3.3 ก๊าซ
เหล็ก เป็นของเหลว ใช้ความร้อนแฝง
น้ำแข็ง เป็นน้ำ ใช้ความร้อนแฝง
น้ำ เป็นไอ ใช้ความร้อนแฝง
ความร้อนสามารถเคลื่อนที่ได้ 3 วิธี
1. การนำความร้อน คือการเคลื่อนที่ของความร้อนจากวัตถุด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง ( แท่งเหล็กเผาไฟ )
2. การพาความร้อน มีตัวกลางในการพาไป เช่นของเหลวและก๊าซ
3. การแฝรังสี ความร้อนสามารถเคลื่อนที่ได้โดยไม่มีตัวกลาง คือ การแฝรังสีของดวงอาทิตย์
หน้าที่และการทำงานของอุปกรณ์หลัก
1. คอมเพรสเซอร์ ทำหน้าที่ดูดและอัดสารทำความเย็นในระบบเครื่องทำความเย็น
2. คอมเดนเซอร์ ทำหน้าที่เปลื่ยนสถานะน้ำยาจากก๊าซให้เป็นของแหลว ด้วยการลดความร้อนแผงออก
3.
วาล์วลดแรงดัน ทำหน้าที่ลดแรงดันน้ำยาจากแรง ดันสูงให้เป็นแรงดันต่ำ
อีกทั้งยังควบคุมปริมาณของน้ำยาที่ไหลผ่านให้เหมาะสมกับขนาดเครื่อง
4.
อีแวปปอเรเตอร์ ทำหน้าที่เปลื่ยนสถานะน้ำยาแเลวให้กลายเป็นก๊าซ
ด้วยการดูดความร้อนแฝง จากภายในห้องปรับอากาศ
ไปใช้ในการเปลื่ยนสถานะของน้ำยาเหลว
คุณสมบัติน้ำยา
การเปลื่ยนน้ำยาจาก เหลวเป็นก๊าซ มีข้อดีสามารถเปลื่ยนสถานะได้ในอุณภูมิต่ำได้ (เดือดได้ที่อุณภูมิต่ำ)
ความร้อนของคน มีปริมาณ 600 BTU/ชม
อุณหภูมิร่างกายของคน 37 ํC
12,000 BTU/ชม = 1 ดัน
No comments:
Post a Comment